EVENT


For Those Who Died Trying

Fri 14 Oct - Wed 19 Oct | 09.00 - 17.00
Exhibition
    |
  • photography

Description

ความเป็นมาของโครงการภาพถ่าย For Those Who Died Trying เพื่ออุทิศให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนระดับชุมชนที่ถูกสังหารหรือถูกบังคับให้สูญหาย โลกชองเราอยู่ในช่วงเวลาที่สาคัญ เรามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลกมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน แต่การต่อสู้ของประชาชนเพื่อปกป้องโลกจากพลังที่ทาลายล้าง กาลังเผชิญกับอันตรายอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนเช่นกัน ในทุกวันนี ้ ประชาชนจานวนมากขึน้ ต้องหาทางปกป้องแผ่นดินเกิดของตนจากบรรษัทหรือหน่วยงานของรัฐที่มุ่งทาลา ยแผ่นดินเพื่อผลกาไร โดยไม่คานึงถึงผู้ได้รับผลกระทบ ปัจจัยผลักดันสาคัญของการต่อสู้เหล่านีคื้อความปรารถนาของประชาชนที่จะปกป้องแผ่นดินของตนเอง วิถีชีวิต สิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐานและอนาคตของพวกเขาเอง รวมทัง้ ชุมชนอื่น ๆ ประชาชนท่วั โลกได้สูญเสียชีวิตในการปกป้องคุณค่าทางสิ่งแวดล้อมนานัปการ ซงึ่ ได้รับผลกระทบจากการทิง้ ของเสีย การตัดไม้ทาลายป่ าอย่างผิดกฎหมาย การกว้านซือ้ เวนคืนที่ดิน จากการต่อต้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ก่อมลพิษ ต่อต้านเหมืองแร่และอุตสาหกรรมขุดเจาะสินแร่อื่น ๆ นอกจากปัญหาสิ่งแวดล้อม พวกเขายังต้องต่อสู้เพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐานของตนเองและของบุคคลอื่น ในการต่อสู้เพื่อสิทธิของบุคคลอื่น พวกเขาต้องร่วมมือกับทนายความที่เป็นตัวแทนปกป้องสิทธิของลูกความที่ถูกเจ้าหน้าที่ทรมาน ไปจนถึงการทางานกับผู้นาชุมชนเพื่อต่อต้านความอยุติธรรมอันเป็นผลมาจากการกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ ต่อชุมชน นักเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนที่รวมตัวกันในชนบท หรือที่เรียกว่า “นักปกป้องสิทธิมนุษยชนระดับชุมชน” มักไม่ได้รับความสนับสนุนหรือไม่ได้รับการยกย่องจากการทางานต่อสู้เพื่อสิทธิของตนเอง พวกเขาไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากการต่อสู้กับผลประโยชน์ของคนรวยและผู้มีอิทธิพล และเป็นเหตุให้นักเคลื่อนไหวเหล่านีต้ ้องประสบกับผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการถูกสังหารและถูกบังคับให้สูญหาย Global Witness จัดทารายงานเกี่ยวกับการสังหารและการบังคับบุคคลให้สูญหายกรณีผู้ทางานปกป้องที่ดินและสิ่งแวดล้อ มทวั่ โลก 991 รายระหว่างปี 2545-2557 มีแนวโน้มว่าจะมีผู้เสียชีวิตเพิ่มกว่านีอี้ก แต่การรายงานข้อมูลจากพืน้ ที่ชนบทซงึ่ เป็นแนวหน้าที่ต่อสู้กับการทาลายทรัพยากรและการปราบปรามสิท ธิมนุษยชนยังคงมีอยู่น้อย และสื่อมวลชนมีข้อจากัดในการเข้าถึงข้อมูลในบางประเทศ ในประเทศไทย Protection International กาลังจัดทาข้อมูลเกี่ยวกับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนกว่า 50 กรณี ที่ถูกสังหารในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา หลายคนตกเป็นเหยื่อการบังคับให้สูญหาย เป็นเหตุให้ประเทศไทยกลายเป็นผู้ที่ก่อความรุนแรงต่อนักปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างเลวร้ายสุดแห่งหนงึ่ ใ นโลก ทัง้ ยังมีการลอยนวลพ้นผิดอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนระดับชุมชนเสี่ยงอย่างยิ่งที่จะตกเป็นเหยื่อความรุนแรงและความอยุติธรร ม แต่นักเคลื่อนไหวและเครือข่ายระดับชุมชนในไทยยังคงพยายามพัฒนาองค์ความรู้ให้ทันสมัยและรวมตัวจั ดตัง้ เพื่อปกป้องวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อมของตนเอง ซงึ่ เป็นการขัดขวางผลประโยชน์ของนายทุนและผู้มีอิทธิพล ส่งผลให้พวกเขาใช้ความรุนแรงมากขึน้ ต่อผู้ที่ต่อต้านนายทุนและผู้มีอิทธิพล ประชาชนท่วั ประเทศที่กลายเป็นอุปสรรคของพวกเขาได้ถูกบังคับโยกย้าย ส่วนผู้กระทาผิดไม่ได้รับการลงโทษเนื่องจากบรรดานายทุนและผู้มีอิทธิพลต่างมีอานาจครอบงาระบบยุติธ รรม มีการจ้างมือปืนเพื่อยิงสังหาร โดยแทบไม่มีคนร้ายรายใดถูกนาตัวมาลงโทษ การสังหารเช่นนีส้ ่งผลผลกระทบอย่างรุนแรงต่อชุมชนนักต่อสู้ขนาดเล็กซงึ่ ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ภายใต้รัฐบาลเผด็จการที่บังคับให้ต้องยอมรับแม่แบบการพัฒนาของการขุดเจาะแร่ธาตุที่ก่อมลพิษและอุต สาหกรรมขนาดใหญ่ ส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นต้องลุกขึน้ มาต่อสู้กับอานาจทางการเมืองในไทยเหล่านี ้ เนื่องจากความเสี่ยงที่พัฒนารูปแบบและขยายวงมากขึน้ ต่อชุมชนจานวนมาก เราจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับผู้ซงึ่ สูญเสียชีวิตเพื่อต่อสู้กับโครงการพัฒนาเหล่านี ้ นอกจากนียั้งจะเป็นการรณรงค์ช่วยให้สังคมไทยและผู้ทางานด้านสิทธิมนุษยชนตระหนักถึงการต่อสู้เพื่อสิ ทธิมนุษยชนของชุมชนในไทย และความรุนแรงที่พวกเขาต้องเผชิญ จาเป็นต้องมีการสร้างจิตสานึกต่อการต่อสู้เหล่านี ้เพื่อให้ภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคมได้มีส่วนร่วมกดดันเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทาร้ายชุมชนนักเคลื่อนไหวในอนาคต โครงการของ Protection International โครงการนีเ้ป็นการเสนอภาพถ่ายและคาบรรยายโดยสังเขปกรณีนักปกป้องสิทธิมนุษยชน 37 คนที่ถูกสังหารหรือถูกลักพาตัวบังคับให้สูญเสียในไทย โครงการนีเ้ป็นการราลึกต่อผู้ซงึ่ เสียชีวิตโดยการนาภาพถ่ายของนักปกป้องสิทธิมนุษยชนเหล่านีไ้ ปวางในจุ ดที่บุคคลดังกล่าวถูกสังหารหรือถูกลักพาตัวบังคับให้สูญหาย เราหวังว่าสังคมจะได้ตะหนัก เราจะต้องไม่ปล่อยให้ผู้เสียหายและครอบครัวรวมทัง้ เรื่องราวการต่อสู้และการเสียชีวิตและหายตัวไปของพ วกเขาถูกละเลยและไม่ใส่ใจ สุดท้ายแล้ว ผู้ที่ใช้อานาจอย่างมิชอบและยังลอยนวลพ้นผิดจะต้องได้รับโทษ ต้องมีการยกย่องบรรดานักปกป้องสิทธิมนุษยชนและต้องมีการบริหารงานยุติธรรมที่มุ่งหน้าสู่การยุติการสัง หารเหล่านี

Venue

Chiang Mai University Art Center
Contact
053 218279 / 053 944833
Address

239 Nimmanhemin Road, Muang, Chiang Mai 50200

Opening hours
Tuesday - Sunday 9.00 - 17.00
Website
http://www.finearts.cmu.ac.th/artcenter
Social

On Map